จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Options

หาก พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ผ่านมติสภาฯ และการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ในทุกวาระ และถูกบังคับใช้เป็นกฎหมายในไทย "สมรสเท่าเทียม" จะมีประโยชน์ในการมอบสิทธิและความเท่าเทียมให้แก่ทุกเพศ เนื่องจากปัจจุบันกฎหมายยังยอมรับการสมรสเฉพาะแค่เพศชาย-หญิง เท่านั้น แต่หากมีการผ่าน พ.

ร.บ. ฉบับของคณะรัฐมนตรีเป็นร่างหลักในการพิจารณา

คำบรรยายภาพ, ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล

ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... เสนอโดยกระทรวงยุติธรรม ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาร่าง พ.ร.บ. แล้ว

“เขารอมาตั้งนาน ผมจึงอยากเรียกร้องขอความเห็นใจกับน้อง ๆ ที่รอมานาน ขอให้มันเร็วกว่านี้ได้ไหม”

ใช้ถ้อยคำที่เป็นกลางทางเพศมากขึ้น เช่น สามี-ภรรยา ปรับเป็น "คู่สมรส", ชาย-หญิง ปรับเป็น "บุคคล", บิดา-มารดา ปรับเป็น "บุพการี"

ร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ถูกเสนอโดยพรรคก้าวไกล

สมรสเท่าเทียม ใช้บังคับ ม.ค. ปีหน้า เรื่องใดใช้สิทธิได้ทันที เรื่องไหนต้องรอแก้กฎหมายเพิ่มเติม

ด้วยเหตุนี้ทางคณะกรรมาธิการจึงเลือกใช้คำว่า “คู่สมรส” เพื่อไม่ก่อให้เกิดปัญหาทางการปฏิบัติ

ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการจากรัฐในฐานะคู่สมรส เช่น สิทธิรับประโยชน์ทดแทนจากประกันสังคม, สิทธิเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล เป็นต้น

ส่วนการรับบุตรบุญธรรมนั้น ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล และกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม เคยระบุกับบีบีซีไทยว่า “คู่สมรสตามกฎหมายสมรสเท่าเทียมก็สามารถตั้งครอบครัวและรับบุตรบุญธรรมได้ตามกฎหมายการรับบุตรบุญธรรมที่มีอยู่ ซึ่งเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์อีกหมวดหนึ่ง ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องการสมรสเท่าเทียม”

ร.บ.คุ้มครองเด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ต่อไป ซึ่งมีการชี้แจงใน กมธ. ว่าหน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบได้ร่างกฎหมายไว้แล้ว เพียงแต่รอกฎหมายสมรสเท่าเทียมที่จะออกมาเท่านั้น

ไฟไหม้รถบัสนักเรียน ถอดบทเรียนรถติดแก๊สปลอดภัยแค่ไหน ได้ซักซ้อมแผนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินก่อนทัศนศึกษาหรือไม่

ในการพิจารณากฎหมายแต่งงานเพศเดียวกันในสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม ร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ถูกเสนอประกบคู่กับร่าง พ.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *